

ไม้เอก
|
ไม้โท
|
ไม้ตรี
|
ไม้จัตวา
|
่
|
้
|
๊
|
๋
|
เสียงวรรณยุกต์ไทยมี 5
เสียง ดังนี้





คำทุกคำในภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์
บางคำต้องใช้รูปวรรณยุกต์ ซึ่งมี 4 เสียง
คือ เอก โท ตรี จัตวา เช่น ก่า ก้า ก๊า ก๋า แต่บางคำไม่ใช้รูปวรรณยุกต์ ซึ่งมีครบ 5
เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา เช่น คาง ขาก คาก คัก ขาง
เสียงวรรณยุกต์ของคำที่ไม้ใช้รูปวรรณยุกต์อาจเรียกได้ว่า พื้นเสียง



พยัญชนะไทยมีเสียงวรรณยุกต์กำกับแตกต่างกัน
จึงแบ่งพยัญชนะตามการออกเสียงเป็น 3 หมู่
หรือเป็นระบบไตรยางศ์ได้ดังนี้



อักษรต่ำเป็นอักษรต่ำคู่
กับอักษรต่ำเดี่ยว ดังนี้

ค, ฅ, ฆ (ข,ฃ) ช, ฌ (ฉ) ซ (ศ, ษ, ส) ฑ, ฒ, ท, ธ (ฐ, ถ) พ, ภ (ผ) ฟ (ฝ) และ ฮ (ห)

ง, ญ, ณ, น, ม, ย, ร, ล, ว และ ฬ

คำเป็น คือคำที่ประสมสระเสียงยาวในแม่ ก กา และคำที่อยู่ในแม่กง แม่กน แม่กม
แม่เกย และแม่เกอว
คำตาย คือคำที่ประสมสระเสียงสั้นในแม่ ก กา และคำที่อยู่ในแม่กก แม่กด และแม่กบ


อักษรกลาง พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได้ครบทั้ง ๕ เสียง คือ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ตรีเป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์จัตวาเป็นเสียงจัตวา เช่น
คำ
|
(สามัญ) |
่
(เอก) |
้
(โท) |
๊
(ตรี) |
๋
(จัตวา) |
ปู
|
ปู
|
ปู่
|
ปู้
|
ปู๊
|
ปู๋
|
จา
|
จา
|
จ่า
|
จ้า
|
จ๊า
|
จ๋า
|
อา
|
อา
|
อ่า
|
อ้า
|
อ๊า
|
อ๋า
|
ไก
|
ไก
|
ไก่
|
ไก้
|
ไก๊
|
ไก๋
|
แต่ถ้าเป็นคำตาย จะผันได้แค่ ๔ เสียง คือ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา เช่น
คำ
|
(สามัญ) |
่
(เอก) |
้
(โท) |
๊
(ตรี) |
๋
(จัตวา) |
กัด
|
-
|
กัด
|
กั้ด
|
กั๊ด
|
กั๋ด
|
จาก
|
-
|
จาก
|
จ้าก
|
จ๊าก
|
จ๋าก
|
อาบ
|
-
|
อาบ
|
อ้าบ
|
อ๊าบ
|
อ๋าบ
|
บีบ
|
-
|
บีบ
|
บี้บ
|
บี๊บ
|
บี๋บ
|

อักษรสูง พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท เช่น
คำ
|
(สามัญ) |
่
(เอก) |
้
(โท) |
๊
(ตรี) |
๋
(จัตวา) |
ไข
|
-
|
ไข่
|
ไข้
|
-
|
ไข
|
ขา
|
-
|
ข่า
|
ข้า
|
-
|
ขา
|
ผึง
|
-
|
ผึ่ง
|
ผึ้ง
|
-
|
ผึง
|
ฝาย
|
-
|
ฝ่าย
|
ฝ้าย
|
-
|
ฝาย
|
แต่ถ้าเป็นคำตาย จะผันได้แค่ ๒ เสียง คือ เสียงเอก และเสียงโท เช่น
คำ
|
(สามัญ) |
่
(เอก) |
้
(โท) |
๊
(ตรี) |
๋
(จัตวา) |
ขัด
|
-
|
ขัด
|
ขั้ด
|
-
|
-
|
ผิด
|
-
|
ผิด
|
ผิ้ด
|
-
|
-
|
สาบ
|
-
|
สาบ
|
ส้าบ
|
-
|
-
|
ฝาก
|
-
|
ฝาก
|
ฝ้าก
|
-
|
-
|

อักษรต่ำ พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงตรี เช่น
คำ
|
(สามัญ) |
่
(เอก) |
้
(โท) |
๊
(ตรี) |
๋
(จัตวา) |
ทา
|
ทา
|
-
|
ท่า
|
ท้า
|
-
|
ลม
|
ลม
|
-
|
ล่ม
|
ล้ม
|
-
|
รอง
|
รอง
|
-
|
ร่อง
|
ร้อง
|
-
|
งาว
|
งาว
|
-
|
ง่าว
|
ง้าว
|
-
|

.......................................................

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น